Blog

ข้อดีข้อเสียของสาย Fiber Optic

ข้อดี – ข้อเสียของสาย Fiber Optic

ข้อดี ข้อเสีย มีการลดทอนสัญญาณต่ำ (Low Attenuation) สามารถบรรจุข้อมูลได้จำนวนมาก (High Bandwidth) โครงสร้างของสายมีขนานเล็ก และน้ำหนักเบา มีคุณสมบัติเป็นฉนวน ไม่นำไฟฟ้า ปราศจากการรบกวนทางไฟฟ้า มีความปลอดภัยสูงเนื่องจากการขโมยสัญญาณ เส้นใยแก้วนำเสียงมีอายุการใช้งานที่นาน เส้นใยแก้วนำแสงเปราะบาง และแตกหักง่าย ไม่สามารถโค้งงอได้เหมือนสายทองแดง ในการติดตั้งสาย Fiber Optic ต้องใช้เครื่องมือพิเศษซึ่งราคาแพง * จะเลือกใช้งานสาย Fiber Optic แบบไหนก็ขึ้นอยู่กับความต้องการใช้งาน ความเหมาะสมของสถานที่ และประโยชน์ที่จะได้รับ ลองศึกษาดูนะคะ *

ข้อดี – ข้อเสียของสาย Fiber Optic Read More »

10 ข้อดีของสายแบบ Fiber Optic

10 ข้อดีเมื่อติดเน็ตบ้านแบบ Fiber Optic ที่ทุกคนไม่ควรพลาด

1. Fiber Optic ใช้สายเคเบิลใหม่กว่า 2. Fiber Optic สปีดเร็วกว่า 3. Fiber Optic ลื่นกว่า 4. Fiber Optic ไม่มีสัญญานไฟฟ้ารบกวน 5. Fiber Optic รองรับลูกข่ายได้เยอะ ขยายโครงข่ายได้ไกล 6. Fiber Optic ทำโปร Upload ได้เยอะกว่า 7. Fiber Optic ข้อมูลปลอดภัยมากกว่า 8. Fiber Optic รับ Bandwidth ได้เยอะกว่า เชื่อมต่ออุปกรณ์ได้เยอะกว่า 9. Fiber Optic คนใช้ยังไม่เยอะ 10. Fiber Optic เจ้าที่ Gateway ออกต่างประเทศใหญ่ที่สุด สนใจบริการเดินสายไฟเบอร์ ทีม FiberThai พร้อมดูแลคุณ

10 ข้อดีเมื่อติดเน็ตบ้านแบบ Fiber Optic ที่ทุกคนไม่ควรพลาด Read More »

กล้องวงจรปิดแบบ IP Camera

ข้อดี – ข้อเสียของกล้องวงจรปิดแบบ IP Camera

อยากติดกล้องวงจรปิดแบบ IP Camera วันนี้เรามี ข้อดี-ข้อเสีย ของกล้องประเภทนี้มาฝากค่ะ กล้องวงปิดแบบ IP เป็นกล้องที่ต้องตั้งค่า IP ผ่านระบบเครือข่าย เพื่อกำหนดตัวตนในการแสดงภาพ และต้องอาศัยสายชนิด LAN หรือ CAT5 มาเป็นตัวต่อเชื่อมต่อ หรือบางรุ่นอาจใช้เป็นแบบไร้สายได้ ระบบนี้มีราคาแพงกว่า Analog และต้องอาศัยความรู้มากกว่า ในการเซ็ตระบบ ข้อดี Wirless สนับสนุนการทำงานผ่านระบบเครื่อข่ายไร้สายมากกว่า Analog ระบบเครื่อข่ายเดิม : กล้อง IP สามารถใช้ร่วมกับระบบ LAN ที่มีอยู่แล้วได้โดยไม่ต้องเดินสายใหม่ เพิ่มกล้องได้ง่าย : หากต้องการเพิ่มกล้องสามารถทำได้ง่ายโดยไม่ติดข้อจำกัดของ Channel ที่จำกัดของ DVR อีกต่อไป ประสิทธิภาพสูง : เนื่องจากกล้อง IP แต่ละตัวทำงานแยกอิสระ ไม่ได้ส่งภาพไปประมวลผลที่ตัวกล้อง ทำให้ได้ภาพที่มีคุณภาพ “เต็มที่” ไม่อั้นที่ DVR อีกต่อไป แต่ละตัวมี IP ของตัวเอง ทำให้การตั้งค่ากล้องแต่ละตัวทำได้ง่าย ความละเอียด :

ข้อดี – ข้อเสียของกล้องวงจรปิดแบบ IP Camera Read More »

ข้อดี – ข้อเสีย ของกล้องวงจรปิดแบบ Analog

อยากติดกล้องวงจรปิดแบบ Analog วันนี้เรามี ข้อดี-ข้อเสีย ของกล้องประเภทนี้มาฝากค่ะ Analog Camera กล้องวงปิดแบบ Analog เป็นกล้องที่ใช้สายสัญญาณชนิด โคแอคเชียล หรือ ตระกูล RG มาเป็นอุปกรณ์นำสัญญาณ ข้อจำกัดที่พบเช่น สายสัญญาณถูกคลื่นรบกวน ทำให้ภาพที่ได้ไม่ชัด   ข้อดี ต้นทุน: ระบบอนาล็อกมีต้นทุนที่ถูกกว่าระบบ IP ยืดหยุ่นกว่า : เนื่องจากว่ามีกล้องหลากหลายประเภทให้เลือกใช้ตั้งแต่ระบบเล็กไปถึงระบบใหญ่ มีอินฟราเรดติดตั้งมาพร้อมกับกล้อง ทำให้มีตัวเลือกสำหรับการใช้งานประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ความเข้ากันได้ : ในระบบอนาล็อกมีเพียงระบบ PAL และ NTSC เท่านั้น ทำให้สามารถเลือกกล้องต่างยี่ห้อมารวมในระบบเดียวกันได้ ปัญหาน้อย : เนื่องจากว่าระบบอนาล็อกถูกพัฒนามามาก จนแทบจะเรียกได้ว่าอยู่ในช่วงสุดท้ายของเทคโนโลยีของระบบอนาล็อกแล้ว ทำให้ปัญหาต่างๆถูกแก้ไขไปจนหมด ทำให้ปัญหาต่างๆของระบบอนาล็อกเกิดขึ้นน้อยมาก   ข้อเสีย function : ระบบอนาล็อกไม่มีฟังชั่นเช่นเดียวกับที่กล้อง IP มี เว้นแต่กล้องอนาล็อกในระบบราคาแพงเท่านั้น ความปลอดภัย : ระบบอนาล็อกมีความปลอดภัยน้อย เนื่องจากไม่มีการเข้ารหัสของข้อมูล

ข้อดี – ข้อเสีย ของกล้องวงจรปิดแบบ Analog Read More »

เดินสายแลนแก้ปัญหาเน็ตบ้านช้า

เน็ตบ้านช้าแก้ปัญหาอย่างไร?

“เน็ตช้า สัญญาณหาย ใช้ได้ไม่ทั่วบ้าน” ปัญหาที่หลายๆ บ้านต้องเจอ ยิ่งสมาชิกร่วมบ้านเยอะ พื้นที่บ้านอาณาเขตกว้างขวาง สัญญาณยิ่งกระจายไม่ทั่วถึง แต่ปัญหาเหล่านี้ก็มีทางแก้หลายวิธีนะคะ วันนี้แอดมินจะมาให้ข้อมูล เพื่อเป็นทางเลือกแก่ทุกคน เริ่มแรก แนะนำให้เลือกใช้คลื่นสัญญาณ Router ให้เหมาะสมกับการใช้งาน – สำหรับการใช้งานในระยะใกล้ไม่เกิน 5-7 เมตร แนะนำให้เลือกคลื่นสัญญาณแบบ 5G – สำหรับการใช้งานในระยะที่อยู่ไกลกว่า 7 เมตร แนะนำให้เลือกคลื่นสัญญาณแบบ 2.4G แต่ก็มีบางครั้งที่สัญญาณ Wi-Fi ถูกรบกวนจากปัจจัยอื่นๆ ภายนอกบ้าน ส่งผลให้เกิดเหตุการณ์เน็ตช้า สะดุด หรือหลุดบ่อยได้ อาจต้องทำการติดตั้งอุปกรณ์เสริม Acess Point เพิ่มเติม เพื่อให้จับสัญญานจากพื้นที่ห่างไกลได้ดีขึ้น ต่อมา แนะนำให้ประเมินจำนวนคนใช้ Wi-Fi ภายในบ้าน หากมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตพร้อมๆ กันในช่วงเวลาเดียวกันเยอะ ก็มีผลทำให้แย่งความเร็วในการดาวน์โหลด สัญญาณเน็ตจึงช้าลงได้ เนื่องจากมีการแชร์แบนวิทกัน แม้ว่าการใช้ Wi-Fi นั้นสะดวกกว่า แต่ถ้าเทียบเรื่องความแรงและความเสถียรแล้ว ยังไงการมีสาย LAN ก็ดีกว่าแน่นอน ยิ่งใช้กับอุปกรณ์พวก

เน็ตบ้านช้าแก้ปัญหาอย่างไร? Read More »

ทำไมต้องใช้สายไฟเบอร์ออฟติก?

ในบทความที่แล้ว แอดมินได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกใช้บริการว่าเมื่อไหร่ควรเดินแลน และเมื่อไหร่ควรเดินไฟเบอร์ไปแล้ว ขอทบทวนความทรงจำทุกคนนิดนึงงงงงงง หากเลือกเดินสายแลน ควรมีระยะไม่เกิน 80 เมตรนะคะ เพื่อความเสถียรขอสัญญาณ แต่หากระยะเกินกว่า 100 เมตร จัดไปที่บริการเดินสายไฟเบอร์โล้ดดดดดดจ้า โดยวันนี้แอดมินก็จะมาลงลึกรายละเอียดให้แก่ทุกคน ว่าทำไมพอระยะไกล ถึงต้องใช้สายไฟเบอร์ออฟติก? ทำไมต้องใช้สายไฟเบอร์ออปติก? รับส่งข้อมูลได้ไม่จำกัด มีขีดความสามารถสูง มีการสูญเสียการส่งสัญญาณที่ต่ำ ไม่กระจายความร้อน ป้องกันการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า มีประโยชน์หลากหลายในอุตสาหกรรมต่างๆ ไฟเบอร์ออปติกรองรับความจุที่สูงขึ้น จำนวนแบรนด์วิดท์เครือข่ายที่สายพกพาได้ง่ายกว่าสายเคเบิลทองแดงที่มีความหนาใกล้เคียงกัน Singlemode Fiber เป็นเส้นใยโหมดเดี่ยวเหมาะสำหรับการใช้งานทางไกลระหว่างอาคารเนื่องจากมีเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่าของใยแก้วซึ่งช่วยลดความเป็นไปได้ในการลดทอน หรือลดความแรงของสัญญาณ ช่องเล็กๆแยกเป็นลำแสงเดียวซึ่งให้เส้นทางที่ตรงกว่า และสามารถส่งสัญญาณไปได้ไกลกว่า อีกทั้งยังมีแบรนด์วิดท์ที่สูง เพราะแหล่งกำเนิดแสงของสายไฟเบอร์โหมดเดี่ยวมักเป็นเลเซอร์ แม้จะมีราคาแพงกว่าสายอีกประเภท แต่คุ้มค่าเนื่องจากมีการคำนวณที่แม่นยำในการผลิตแสงเลเซอร์ส่งสัญญาณผ่านช่องเล็กๆ Multimode Fiber สายมัลติโหมดไฟเบอร์มีระยะการส่งที่จำกัดกว่าสายโหมดเดี่ยว เหมาะกับการใช้ส่งสัญญาณระยะสั้นภายในอาคาร เช่น เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เนื่องจากการเปิดคอร์ที่ใหญ่ขึ้นทำให้สัญญาณแสงเด้งและสะท้อนกลับได้มากขึ้น เมื่อเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า การส่งแสงพัลส์หลายครั้งผ่านสายเคเบิลในครั้งเดียว ทำให้ส่งข้อมูลได้มากขึ้น ส่งผลให้มีความเป็นไปได้ที่จะสูญเสียสัญญาณหรือถูกรบกวนได้ง่ายกว่าสายแบบโหมดเดี่ยว แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น สายไฟเบอร์ออปติกทั้งสองแบบก็มีความทนทาน เนื่องจากแข็งแรงกว่าทินเนอร์และเบากว่าสายลวดทองแดง จึงไม่จำเป็นต้องบำรุงรักษา หรือเปลี่ยนบ่อย เรียกได้ว่าติดตั้งเพียงครั้งเดียวโดยผู้เชี่ยวชาญก็สามารถใช้งานได้ยาวๆๆๆๆ คุ้มค่ากับการลงทุน Fiber Optic

ทำไมต้องใช้สายไฟเบอร์ออฟติก? Read More »

เดินสายแลน VS เดินสายไฟเบอร์

        หลายเสียงสอบถามเข้ามาว่า “ไฟเบอร์ไทยคะ” “ไฟเบอร์ไทยครับ” เดินแลน กับ เดินไฟเบอร์มันต่างกันยังไง แล้วต้องเลือกยังไงจึงจะเหมาะสมกับการใช้งาน วันนี้ฤกษ์งามยามดี ทีมแอดมินขอมาแถลงข้อสงสัยของทุกท่านกันค่ะ ไฟเบอร์ออฟติค (Fiber Optic)         ไฟเบอร์ออฟติค เป็นสายเคเบิ้ลใยแก้วนำแสงที่มีความเสถียรสูง มีการลดทอนสัญญาณต่ำมาก สามารถใช้งานได้ระดับ 10 – 100 km. สบายๆ ไม่เพียงเท่านั้น ตัวสายสัญญาณยังทำจากแก้วซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า และมีการส่งสัญญาณเป็นแสง ซึ่งสัญญาณไฟฟ้าจะไม่สามารถรบกวนสัญญาณแสงได้ ทำให้สามารถติดตั้งสาย Fiber Optic ใกล้กับสายไฟฟ้าแรงสูง หรือเครื่องจักรขนาดใหญ่ได้ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode) เป็นสายที่มีขนาด Core คือ 9 ไมครอน และมีการส่งสัญญาณด้วยแสงประเภทเลเซอร์ ทำให้สามารถส่งสัญญาณได้ระยะไกล ขั้นต่ำที่ใช้งาน คือรุ่น 10 km และไกลได้ถึง

เดินสายแลน VS เดินสายไฟเบอร์ Read More »

สายแลน CAT5E, CAT6 และ CAT7 แตกต่างกันอย่างไร?

สายแลน CAT5E CAT6 และ CAT7 แตกต่างกันอย่างไร? ก่อนจะเข้าสู่เนื้อหา เรามาทำความรู้จักกับประเภทของสายแลนกันก่อนค่ะ โดยสายแลนแต่ละรุ่น สามารถจำแนกออกได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะการหุ้มฉนวน ทั้งแบบที่มีแต่ฉนวนอย่างเดียวไม่มีฟอยล์ หรือมีฟอยล์นอก หรือมีฟอยล์หุ้มทั้งหมด 2. แบ่งตามการใช้งานแบบภายนอกอาคาร (Outdoor) และภายในอาคาร (Indoor) โดยที่สายแบบ Outdoor จะมีปลอกหุ้มที่แข็งแรงกว่าและหนากว่า สายแบบ Indoor เพื่อให้ทนต่อสภาพอากาศภายนอกอาคารได้ดีมากขึ้น 3. แบ่งตามการเข้าหัวของสาย LAN หรือตามลักษณะการใช้งาน เราควรเลือกสายนำสัญญาณให้เหมาะสมและรองรับกับอุปกรณ์เชื่อมต่อ เพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพมากที่สุด 4. แบ่งตามความถี่ที่รองรับได้ ดังนี้ 4.1) สายแลน CAT5 เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วต่ำที่สุด ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 100 Mbps สายชนิดนี้จึงไม่เป็นที่นิยมใช้งานกันซักเท่าไร เนื่องจากความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลที่ต่ำ 4.2) สายแลน CAT5E เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วที่ต่ำ แต่สูงกว่าแบบแรก ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 1 Gpbs 4.3) สายแลน CAT6

สายแลน CAT5E, CAT6 และ CAT7 แตกต่างกันอย่างไร? Read More »

วิธีประหยัดแอร์ในบ้าน

วิธีประหยัดแอร์ในบ้าน ช่วงหน้าร้อน           สวัสดีเมษาหน้าร้อนนนน  ขณะที่พิมพ์อยู่เหงื่อก็ยังไม่หยุดไหลเลย เอาดีๆ ร้อนหรืออ้วน ไขมันเยอะกันแน่ ? จริงๆแล้วประเทศไทยก็ร้อนระอุทั้งปีอยู่แล้วนะ เราก็เปิดแอร์กันทุกวัน ไม่เว้นเสาร์ อาทิตย์ อยู่แล้ว  ดังนั้น วันนี้จะมาเสนอวิธีประหยัดแอร์ในบ้าน เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าไฟที่ต้องหามาจ่ายกันทุกเดือน แถมตอนนี้ช่วง WFH หรือ Work From Home กันด้วย  จะให้มานั่งทำงานร้อนๆ จั๊กกะแร้เปียกได้ไงเล่า จริงมั้ย ?  วิธีที่ 1  ล้างแอร์ ล้างแอร์กันบ้างยังอ่ะ ตั้งแต่หน้าร้อนปีที่แล้วววว ถ้ามีฝุ่นละอองเยอะ ก็จะทำให้แอร์ทำงานหนัก ง่ายๆเลยที่เราสามารถทำได้ ถอดแผ่นกรองออกมาทำความสะอาดโดยการฉีดน้ำไล่ฝุ่นออกไป และนำไปผึ่งแดดให้แห้ง ก่อนเอามาใส่ วิธีที่ 2  เปิดพัดลมพร้อมกับเปิดแอร์ ช่วยได้เด้อเปิดพัดลมไล่ความร้อนออกจากห้องสักพัก แล้วเปิดแอร์พร้อมกับพัดลม จะช่วยให้อุณหภูมิในห้องเย็นขึ้นถึง 2 องศาเลยนะเออ วิธีที่ 3  ตั้งเวลาเปิดปิดแอร์ เพื่อลดค่าใช้จ่ายแต่จะให้ตั้งเวลาเปิดปิดแอร์ในช่วงกลางวันก็คงยาก

วิธีประหยัดแอร์ในบ้าน Read More »

เดินสายไฟ ภายในบ้าน

เดินสายไฟ ภายในบ้าน วันนี้มี เทคนิคดีๆ จาก ทีม ช่างเดินสายไฟในบ้าน ที่ รับเหมาไฟฟ้า มานาน กว่า 13 ปี มา แชร์กันครับ ประเภทของสายไฟ สายไฟจะแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ สายสำหรับไฟแรงดันต่ำและสำหรับไฟแรงดันสูง ซึ่งสายไฟที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือนจัดอยู่ในประเภทสายไฟแรงดันต่ำ สำหรับในประเทศไทยนั้น สายไฟแรงดันต่ำจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.11-2531 หรือ TIS-11-2531 ตามมาตรฐานแล้วสายไฟแรงดันต่ำจะต้องมีหลายขนาด (พื้นที่หน้าตัด) ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งจะต้องทนแรงดันไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 300 โวลต์ ถึง 750 โวลต์ มีลักษณะเป็นสายหุ้มฉนวน ทำด้วยทองแดงหรืออลูมิเนียม โดยทั่วไปแล้วจะเป็นสายทองแดงขนาดเล็กจะเป็นตัวนำตัวเดียว แต่สายขนาดใหญ่เป็นตัวนำตีเกลียว วัสดุฉนวนที่ใช้กับสายแรงดันต่ำ คือ Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross –Linked Polyethylene (XLPE) ได้แก่ สาย THW,VAF, VAF-GRD,NYY,NYY-GRD,0.6/1KV-CV,VCT,VCT-GRD,VSF,AV,VFF,VKF สายไฟตามมาตรฐาน

เดินสายไฟ ภายในบ้าน Read More »